วิชาเหรียญศิลปะป้องกันตัว (Self-defense)
ระยะเวลาที่ใช้ :
ขึ้นอยู่กับระดับความสามารถของสมาชิก

เนื้อหา ระดับพื้นฐาน
เลือกเรียนประเภทใดประเภทหนึ่ง
1. ยูโด
จำแนกเป็น สายสีขาว และสายสีเหลือง
2. เทควันโด จำแนกเป็น สายสีขาว
และสายสีเหลือง
3. มวยไทย ประกอบด้วย
3.1 ประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับมวยไทย
3.2
สนามและอุปกรณ์ของกีฬามวยไทยสมัครเล่น
3.3
อวัยวะที่ใช้ในการต่อสู้ของกีฬามวยไทย ได้แก่ หมัด เท้า เข่า และศอก
3.4
จุดสำคัญที่เป็นเป้าหมายการชกกีฬามวยไทย ได้แก่ หน้าผาก หรือแสกหน้า จมูก
ขมับหรือทัดอกไม้ ลูกตา
ใต้กกหู คางและขากรรไกร ลิ้นปี่ คอต่อและท้ายทอย ต้นแขน ชายโครง
สะดือและท้องน้อย กระดูสันหลัง
ที่ตั้งของไหล่ ที่ตั้งของอวัยวะเพศ ต้นขา ขาพับ หน้าแข็ง หลังเท้า
เกณฑ์การผ่านเหรียญ
1. ต้องเรียนครบเนื้อหาทฤษฎี
และปฏิบัติของศิลปะป้องกันตัวที่เลือกเรียน
2. ต้องผ่านระดับมาตรฐานของแต่ละกลุ่มที่เลือกเรียน
เนื้อหา ระดับสูง
เลือกเรียนประเภทใดประเภทหนึ่ง
1. ยูโด
จำแนกเป็น สายสีส้ม สายสีเขียว สายสีฟ้า และสายสีน้ำตาล
2. เทควันโด จำแนกเป็น
สายสีเขียว สายสีฟ้า สายปลายสีแดง และสายสีน้ำตาล 2
3. มวยไทย ประกอบด้วย
3.1 การร่ายรำไหว้ครูมวยไทย
(ท่าพรหมสี่หน้า)
3.2 ระดับการชกกีฬามวยไทย
- ระดับต่ำ กลาง และสูง
3.3 ระยะการชกของมวยไทย
- ระดับใกล้ กลาง และไกล
3.4 จังหวะการชกของมวยไทย
- จังหวะชิงชก โต้ตอบ สวน และตาม
3.5 หลักการป้องกันต่าง ๆ
ของการชกมวยไทย ได้แก่
- การชิงทำก่อน การหลบหลีก การรับหรือปิด การกอดจับ การปะทะ การยก การยึด
และการรักษาระยะ
ไม่ให้คู่ต่อสู้ใช้เชิงชกได้ถนัด
3.6 การป้องกันท่าต่าง ๆ
ของการชกมวยไทย จำแนกเป็น
- การป้องกันหมัดตรงขวาที่หน้า
- การป้องกันหมัดตวัดที่หน้า
- การป้องกันหมัดเสย
- การป้องกันการถีบ
- การป้องกันการเตะเฉียง
- การป้องกันการเตะที่ขาพับ
- การป้องกันเขา
- การป้องกันศอก
- การป้องกันมวยถนัดซ้าย
3.7 จับคู่การทำท่าแบบต่าง ๆ
ของมวยไทยมาประกอบกันเป็นท่าทางการต่อสู้ โดยต่อเนื่อง จำนวน 1 ชุด
(ท่าแม่ไม้ และท่าต่าง ๆ รวมกันแล้วต้องไม่น้อยกว่า 10 ท่า
โดยเริ่มต้นจากท่าร่ายรำไหว้ครูมวยไทยก่อน)
เกณฑ์การผ่านเหรียญ
1. เรียนครบเนื้อหาทฤษฎีและปฏิบัติของศิลปะป้องกันตัวที่เลือกเรียน
2. ผ่านระดับมาตรฐานของแต่ละกลุ่มที่เลือกเรียน
หมายเหตุ
1. นักเรียนที่ผ่านการอบรมศิลปะป้องกันตัวในระดับพื้นฐาน
จะต้องมีจดหมายรับรองจากครูฝึกตามแบบฟอร์ม ก.
เพื่อใช้เป็นหลักฐานการผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดในแต่ละระดับ
และให้เจ้าหน้าที่นำส่งสำนักงานยุวยาตร
(ประเทศไทย)
2. หากผู้เรียนได้รับใบประกาศนียบัตรจากการฝึกอบรม
ให้ถ่ายสำเนาเก็บไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานแทนจดหมาย
ในภาคผนวก ก.
3. ผู้ฝึกสอนจะต้องเป็นผู้มีประสบการณ์ในศิลปะป้องกันตัวประเภทนั้น ๆ
4. สำหรับมวยไทย ทางสำนักงานยุวยาตรา" ได้จัดให้มี CD
แนะนำการฝึก และเพื่อความปลอดภัยในการฝึก
ต้องมีผู้ชำนาญเป็นผู้ดำเนินการฝึกสอน
ยุวชาตรี รุ่นกลาง
- ประวัติ (B.B. History)
- หลักการและวิธีการ
- วิชาเหรียญ
- เพลงมาร์ชบีบี
- บีบีภาวนา (B.B. Vesper)
- ค่าย (Camps)
- ข่าว (News)
วิชาเหรียญ
วิชาเหรียญ B.B.
รุ่นกลาง
-
เหรียญสีขาว
-
เหรียญสีเขียว
-
เหรียญสีม่วง
-
เหรียญสีน้ำเงิน
-
เหรียญสีแดง
-
เหรียญสีเงิน
วิชาเหรียญ B.B.
รุ่นโต
-
เหรียญเป้าหมาย
-
เหรียญเชื่อม
-
เหรียญรับใช้ 1 ปี
-
เหรียญรับใช้ 3 ปี
-
เหรียญรับใช้ระยะยาว 6 ปี
-
เหรียญร่วมกิจกรรม
B.B ระดับประเทศเทศ
-
เหรียญผู้นำ
-
เหรียญผู้เชี่ยวชาญ
-
เหรียญผู้ก่อตั้ง
-
เหรียญการผจญภัย
-
เหรียญนักกีฬา
-
เหรียญนักกรีฑา
-
เหรียญนักว่ายน้ำ
-
เหรียญระเบียบแถว
-
เหรียญศิลปะป้องกันตัว
-
เหรียญสมรรถภาพทางกาย
-
เหรียญศิลปะ/งานช่าง/
งานอดิเรก
-
เหรียญต่อต้านยาเสพติด
-
เหรียญนักคอมพิวเตอร์
-
เหรียญนักเรียนเรียนดี
-
เหรียญประชากรศึกษา
-
เหรียญวิชาชีพ
-
เหรียญคริสเตียนบริการ
-
เหรียญคริสเตียนศึกษา
-
เหรียญดนตรีสำหรับ
นมัสการ
-
เหรียญนำเพื่อนใหม่
-
เหรียญการปฐมพยาบาล
-
เหรียญความปลอดภัย
-
เหรียญความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ
-
เหรียญทักษะชีวิต
-
เหรียญนักดับเพลิง
-
เหรียญนักอนุรักษ์ธรรมชาติ
-
เหรียญสังคมบริการ